หน่วยความจำหลักแบ่งตามสภาพการใช้งาน
1.
หน่วยความจำที่ซีพียูอ่านได้อย่างเดียว ไม่สามารถเขียนลงไปได้
เรียกว่า รอม (Read Only Memory : ROM) รอมจึงเป็นหน่วยความจำ
ที่เก็บข้อมูลหรือโปรแกรมไว้ถาวร เช่นเก็บโปรแกรมควบคุม การจัดการพื้นฐานของระบบ
ไมโครคอมพิวเตอร์ (bios) รอม
ส่วนใหญ่เป็นหน่วยความจำไม่ลบเลือนแต่อาจยอมให้ผู้พัฒนาระบบ ลบข้อมูลและ
เขียนข้อมูลลงไปใหม่ได้ การลบข้อมูลต้องทำด้วยกรรมวิธีพิเศษ เช่นใช้แสง UV ฉายลงบนผิวซิลิกอน
หน่วยความจำประเภทนี้
มักจะมีช่องกระจกใสสำหรับฉายแสงขณะลบ
และขณะใช้งานจะมีแผ่นกระดาษทึบปิดทับไว้เรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า
อีพร็อม (Erasable
Programmable Read Only Memory : EPROM)
2.
หน่วยความจำที่เขียนหรืออ่านข้อมูลได้ การเขียนหรืออ่านจะเลือกที่ตำแหน่งใดก็ได้
เราเรียกหน่วยความจำประเภทนี้ว่า แรม (Random
Access Memory: RAM) แรมเป็น
หน่วยความจำแบบลบเลือนได้ เป็นหน่วยความจำหลักที่สามารถนำโปรแกรม
และข้อมูลจากอุปกรณ์ภายนอก หรือหน่วยความจำรองมาบรรจุไว้
หน่วยความจำแรมนี้ต่างจากรอมที่สามารถเก็บข้อมูลได้
เฉพาะเวลาที่มีไฟฟ้าเลี้ยงวงจรอยู่เท่านั้น หากปิดเครื่องข้อมูล จะหายได้หมดสิ้น เมื่อเปิดเครื่องใหม่อีกครั้ง
จึงจะนำข้อมูลหรือโปรแกรมมาเขียนใหม่อีกครั้ง
ลักษณะของ
RAM
• เป็นชิป (Chip)
ที่ทำหน้าที่เป็นหน่วยความจำหลัก
• ใช้เก็บข้อมูลหรือคำสั่งทั้งก่อนและหลังการประมวลผล
• สามารถเก็บข้อมูลได้ชั่วคราวขณะมีที่ไฟฟ้าเท่านั้น
• ผู้ใช้สามารถเขียน/อ่าน/ลบ/เปลี่ยนแปลงข้อมูลบน
RAMได้
ดังนั้นความจุ(Capacity) และความเร็วในการเขียน/อ่าน(Access
Time)ข้อมูลของ
RAM
จะมีผลต่อประสิทธิภาพ
• ถ้า RAM มีความเร็วสูงและ
มีความจุมากก็จะทำให้คอมพิวเตอร์ทำงานให้ได้เร็วขึ้น
• ปัจจุบันคอมพิวเตอร์ควรมีหน่วยความจำอย่างน้อย
128 – 256 MB
• อนาคตคาดว่าจะมีการเพิ่มขนาดของRAM มากขึ้นเนื่องจากราคาถูกลง
และ ซอฟต์แวร์มีขนาดใหญ่ต้องการใช้ RAM ที่มีความจุมากในขณะทำงาน
• ปัจจุบันมีหน่วยความจำที่นิยมใช้กัน
3 แบบ คือ
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น